บริการรับซื้อเครื่องเสียง Bose รับซื้อโฮมเธียเตอร์ Bose บริการถึงหน้าบ้าน ตีราคาฟรี ไม่ช้า ให้คำตอบในไม่กี่นาที เพียงแค่ add line หาเรา เราพร้อม ไปรับถึงบ้าน และจ่ายเงินสดทันที line : @buyall หรือโทรหาเรา 091-1206831
รับซื้อเครื่องเสียง Bose | รับซื้อโฮมเธียเตอร์ Bose
การที่คุณจะขาย เครื่องเสียง Bose หรือหาคน รับซื้อเครื่องเสียง Bose รับซื้อโฮมเธียเตอร์ Bose ไม่ยาก ไม่ว่าอยู่จังหวัดไหน เราพร้อมไปถึงที่ เพียง line id มาที่ @buyall
…หรือหากยังไม่ต้องการขาย:
นอกจาก รับซื้อเครื่องเสียง Bose รับซื้อโฮมเธียเตอร์ Bose แล้ว เรายัง รับจำนำเครื่องเสียง Bose รับจำนำโฮมเธียเตอร์ Bose หรือ ขายฝากเครื่องเสียง Bose ขายฝากโฮมเธียเตอร์ Bose อัตราค่าบริการที่ต่ำที่สุด สนใจติดต่อ line @buyall
ประวัติลำโพง Bose มาทำความรู้จักกับ Bose แบรนด์เสียงกระหึ่ม แต่วันนี้ถึงคราวสะเทือน เพราะ Online Disruption
ผลของความเปลี่ยนแปลงจะมากหรือน้อย จะร้ายหรือดี ขึ้นอยู่กับว่าเตรียมพร้อมหรือไม่และยืนฝั่งไหน โดยช่วงไม่กี่ปีมานี้ ทุกวงการล้วนได้รับผลกระทบของความเปลี่ยนแปลงแบบพลิกวงการ (Disruption) ซึ่ง Disruption ที่มากสุดคือ Online Disruption หลังผู้บริโภคหันไปซื้อของแบบ Online ผ่าน E-commerce หรือ Marketplace บนหน้าจอ Mobile Device เหมือนที่ Bose ต้องเผชิญล่าสุด
ความสะดวกในการซื้อลำโพงและหูฟังแค่เพียงปลายนิ้วสัมผัส ทำให้ Bose ต้องประกาศปิดร้านจำหน่ายสินค้า 119 แห่งในหลายประเทศทั่วโลก ซึ่งคงส่งผลต่อพนักงานไม่น้อยต้องตกงาน
จาก Pain Point ที่ได้ยินสู่แบรนด์เครื่องเสียงเบอร์ใหญ่
ประวัติลำโพง Bose ต้องย้อนไปเมื่อปี 1956
Amor G. Bose ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าชาวอเมริกันเชื้อสายอินเดียของ MIT มหาวิทยาลัยชั้นนำในสหรัฐฯ เสียเงินไปไม่น้อยในการซื้อเครื่องเสียงระดับ Hi-end เข้ามาในบ้าน แต่เสียงที่ออกมาทำให้ต้องสะดุด เพราะคุณภาพไม่ได้ตามต้องการและไม่คุ้มกับเงินที่เสียไป เพื่อจัดการกับเรื่องขัดหูขัดใจดังกล่าว Amor Bose จึงมุ่งมั่นจะสร้างลำโพงขึ้นมาเอง
ปี 1964 Pain Point ทางการฟังของ Amor Bose ก็กลายเป็น Bose บริษัทเครื่องเสียง โดยได้ Y.W. Lee ศาสตราจารย์ร่วมสถาบันเชื้อสายเอเชีย ร่วมผลักดันผ่านเงินลงทุนก้อนแรกมูลค่า 10,000 เหรียญสหรัฐ (ราว 300,000 บาทตามค่าเงินปัจจุบัน) และมีลำโพงรุ่น 901 เป็นสินค้าตัวแรก
ข้ามมาถึงยุค 70 Bose ขยายไปผลิตลำโพงสำหรับนักดนตรีและระบบเครื่องเสียงในรถยนต์ทั้งรถอเมริกันและรถญี่ปุ่น ตามด้วยการบุกตลาดญี่ปุ่นที่ต้องใช้ความพยายามอยู่หลายปี ในยุค 80 Bose มีความก้าวหน้าทางธุรกิจอีกขั้น ด้วยการทำลำโพงให้โทรทัศน์และหูฟังแบบครอบหูเพื่อป้องกันเสียงรบกวนซึ่งคุณภาพดีจนกองทัพสหรัฐฯ ทำไปใช้
Bose จบยุค 80 ด้วยยอดขาย 300 ล้านเหรียญสหรัฐ (ราว 9,000 ล้านบาทตามค่าเงินปัจจุบัน) ปี 1992 Bose ทำยอดขายเพิ่มขึ้นเป็น 424 ล้านเหรียญสหรัฐ (ราว 12,720 ล้านบาทตามค่าเงินปัจจุบัน) พร้อมข่าวดี คณะกรรมการโอลิมปิกสากลไว้วางใจใช้เครื่องลำโพงของ Bose สำหรับโอลิมปิกฤดูหนาวปีนั้น
ประวัติลำโพง Bose มาทำความรู้จักกับ Bose แบรนด์เสียงกระหึ่ม แต่วันนี้ถึงคราวสะเทือน เพราะ Online Disruption
ผลของความเปลี่ยนแปลงจะมากหรือน้อย จะร้ายหรือดี ขึ้นอยู่กับว่าเตรียมพร้อมหรือไม่และยืนฝั่งไหน โดยช่วงไม่กี่ปีมานี้ ทุกวงการล้วนได้รับผลกระทบของความเปลี่ยนแปลงแบบพลิกวงการ (Disruption) ซึ่ง Disruption ที่มากสุดคือ Online Disruption หลังผู้บริโภคหันไปซื้อของแบบ Online ผ่าน E-commerce หรือ Marketplace บนหน้าจอ Mobile Device เหมือนที่ Bose ต้องเผชิญล่าสุด
ความสะดวกในการซื้อลำโพงและหูฟังแค่เพียงปลายนิ้วสัมผัส ทำให้ Bose ต้องประกาศปิดร้านจำหน่ายสินค้า 119 แห่งในหลายประเทศทั่วโลก ซึ่งคงส่งผลต่อพนักงานไม่น้อยต้องตกงาน
จาก Pain Point ที่ได้ยินสู่แบรนด์เครื่องเสียงเบอร์ใหญ่
ประวัติลำโพง Bose ต้องย้อนไปเมื่อปี 1956
Amor G. Bose ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าชาวอเมริกันเชื้อสายอินเดียของ MIT มหาวิทยาลัยชั้นนำในสหรัฐฯ เสียเงินไปไม่น้อยในการซื้อเครื่องเสียงระดับ Hi-end เข้ามาในบ้าน แต่เสียงที่ออกมาทำให้ต้องสะดุด เพราะคุณภาพไม่ได้ตามต้องการและไม่คุ้มกับเงินที่เสียไป เพื่อจัดการกับเรื่องขัดหูขัดใจดังกล่าว Amor Bose จึงมุ่งมั่นจะสร้างลำโพงขึ้นมาเอง
Amor G. Bose
ปี 1964 Pain Point ทางการฟังของ Amor Bose ก็กลายเป็น Bose บริษัทเครื่องเสียง โดยได้ Y.W. Lee ศาสตราจารย์ร่วมสถาบันเชื้อสายเอเชีย ร่วมผลักดันผ่านเงินลงทุนก้อนแรกมูลค่า 10,000 เหรียญสหรัฐ (ราว 300,000 บาทตามค่าเงินปัจจุบัน) และมีลำโพงรุ่น 901 เป็นสินค้าตัวแรก
ลำโพง Bose รุ่น 901
ข้ามมาถึงยุค 70 Bose ขยายไปผลิตลำโพงสำหรับนักดนตรีและระบบเครื่องเสียงในรถยนต์ทั้งรถอเมริกันและรถญี่ปุ่น ตามด้วยการบุกตลาดญี่ปุ่นที่ต้องใช้ความพยายามอยู่หลายปี ในยุค 80 Bose มีความก้าวหน้าทางธุรกิจอีกขั้น ด้วยการทำลำโพงให้โทรทัศน์และหูฟังแบบครอบหูเพื่อป้องกันเสียงรบกวนซึ่งคุณภาพดีจนกองทัพสหรัฐฯ ทำไปใช้
Bose จบยุค 80 ด้วยยอดขาย 300 ล้านเหรียญสหรัฐ (ราว 9,000 ล้านบาทตามค่าเงินปัจจุบัน) ปี 1992 Bose ทำยอดขายเพิ่มขึ้นเป็น 424 ล้านเหรียญสหรัฐ (ราว 12,720 ล้านบาทตามค่าเงินปัจจุบัน) พร้อมข่าวดี คณะกรรมการโอลิมปิกสากลไว้วางใจใช้เครื่องลำโพงของ Bose สำหรับโอลิมปิกฤดูหนาวปีนั้น
ลำโพงรถยนต์ Bose
Bose ปิดยุค 90 ด้วยการเป็นแบรนด์เครื่องเสียงอันดับ 1 ในโลก และทำยอดขายถึง 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐ (ราว 30,000 ล้านบาทตามค่าเงินปัจจุบัน) และ 25% ของยอดขายมาจากตลาดต่างประเท
ไม่กี่ปีมานี้ธุรกิจของ Bose อยู่ในอาการทรงกับทรุด โดยปี 2017 ยอดขายอยู่ที่ 3,800 ล้านเหรียญสหรัฐ (ราว 114,000 ล้านบาท) และหยุดอยู่ที่ 4,000 ล้านเหรียญสหรัฐ (ราว 120,000 ล้านบาท) มาตั้งแต่ปี 2018 ซึ่งสาเหตุหลักมาจากพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป เน้นช้อปออนไลน์กันมากขึ้น
จนลูกค้าเข้าร้านน้อยลงและทำให้ Bose ประกาศทยอยปิดสาขาร้านสินค้าของบริษัท 119 แห่ง ทั่วทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป ออสเตรเลีย และญี่ปุ่น ซึ่งเป็นสถานการณ์เดียวกันกับที่แบรนด์ค้าปลีกกำลังเผชิญอยู่
อาการทรงกับทรุดทางธุรกิจของ Bose ยังเป็นผลสืบเนื่องมาจากผู้บริโภคมีตัวเลือกมากขึ้นโดยเฉพาะหูฟังของ Smartphone การเสียส่วนแบ่งตลาดลำโพงให้กับลำโพงอัจฉริยะของแบรนด์เทคโนโลยียักษ์ใหญ่อย่าง Amazon และลำโพงแบรนด์อื่นๆ ที่ราคาถูกกว่า
ขณะเดียวกันลำโพงเองก็กำลังถูกผู้บริโภคมองข้าม เมื่อดูหนัง-ฟังเพลงเพราะถนัดฟังแบบส่วนตัวกับหูฟังมากกว่า นอกจากนี้ Bose ยังตามหลัง Amazon ที่มีครบทั้ง Hardware, Software และ Interface ให้ผู้ใช้ได้งานอย่างสะดวก
คาดกันว่าหาก Bose ยังไม่พัฒนาทั้ง Hardware, Software ใหม่ๆ ออกมา และรุกออนไลน์มากขึ้น อาจฉุดยอดขายให้ลดลง ต้องปิดร้านของบริษัทและหันไปพึ่งแบรนด์ค้าปลีกเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างเต็มตัว